วันอาทิตย์ที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2563

  บันทึกอนุทินครั้งที่ 5

วันศุกร์ที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2563

เวลา 08:30 - 12:30 น.

เนื้อหาที่เรียน

       

ทำไมถึงต้องสอนวิทยาศาสตร์  การศึกษามาตรฐาน ความจำเป็นในชีวิตประจำวัน เเละ หลักสูตรประฐมวัย 60

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คือ การหาเหตุผล แก้ไขปัญหา

สมองกับวิทยาศาสตร์     1 ตีความข้อมูลที่ได้รับเพื่อทำความเข้าใจ

                                    2 หาสาเหตุเชื่อมโยงสิ่งที่เกิดขึ้นเพื่อสืบค้นความจริง

                                    3 ประเมินคุณค่าของสิ่งต่างๆเพื่อการตัดสินใจ

                                    4 จำเเนกองค์ประกอบเพื่อให้เห็นภาพรวมทั้งหมดของเรื่องนั้น

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คือ การหาเหตุผล แก้ไขปัญหา
            
          ทักษะการสังเกต
                การใช้ประสาทสัใผัสทั้ง5 สังเกตเพื่อดูการเปลี่ยนแปลง
            ทักษะการจำแนก
                ใช้การตั้งเกณฑ์ เพื่อหาความเหมือน ความต่าง
            ทักษะการวัด
                ใช้เครื่องมือ โดยจะมีหน่วยการกำกับ
            ทักษะการสื่อความหมาย
                การพูด การเขียน การวาดภาพ บรรยายวัตถุ
            ทักษะการลงความคิดเห็น
                 เพิ่มเติมความคิดเห็นให้กับข้อมูลที่มีอยู่อย่างมีเหตุผล
            ทักษะการหาความสัมพันธ์รหว่างสเปสกับเวลา
บอกทิศทางหรือตำแหน่งของวัตถุ ชี้บ่งภาพ 2 มิติ 3 มิติ

องค์ประกอบของการคิดทางวิทยาศาสตร์ 

        สิ่งที่กำหนด

        หลักหรือกฎเกรณฑ์  เป็นข้อกำหนดสำหรับใช้เเยกส่วนประกอบของสิ่งที่กำหนดให้

        การค้นหาความจริงหรือความสำคัญ   เป็นการพิจารณาส่วนประกอบของสิ่งที่กำหนดให้


              อาจารย์ให้จำกลุ่มทำงานให้ตั้งหัวข้อทำผังความคิด กลุ่มล่ะ 5 คนหัวข้อเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์

กลุ่มของดิฉันเลือกหน่วย การเจริญเติบโตของถั่วงงอก




วันจัทร์ สอนเรื่อง ชนิดของถั่ว

วันอังคาร สอนเรื่อง ลักษณะของต้นถั่วงอก

วันพุธ สอนเรื่อง  การดูแลรักษา

วันพฤหัส สอนเรื่อง ประโยชน์ของถั่วงอก

วันศุกร์ สอนเรื่อง โทษของถั่วงอก 




คำศัพย์ภาษาอังกฤษ

1. nuts  ถั่ว
2. sprouts ถั่วงอก
3. soybean ถั่วเหลื่อง
4. skill   ทักษะ
5. grow up เติบโต


   
   ประเมิน
          ประเมินตนเอง: คิดรับฟังความเห็นของเพื่อน และช่วยเพื่อนทำ
          ประเมินเพื่อน: ช่วยกันคิดหน่วยและลงมือทำ
          ประเมินอาจารย์: อธิบายเนื้อหาอย่างละเอียดและให้คำแนะนำ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

 สรุปบทความ บทความเรื่อง : ทักษะทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ทักษะการสังเกต การสังเกต (Observation) หมายถึง การใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่าง...