วันอาทิตย์ที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563



สรุปวิจัย

       สรุปวิจัยเรื่อง :  ผลการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการที่มีต่อความสามารถ ด้านการสังเกตการจำแนกและการเปรียบเทยีบของเด็กปฐมวัย  

      โดย : ยุพา ศิริรักษ์

      พ.ศ. 2558

       มหาวทิยาลยัราชภฏันครสวรรค์


วัตถุประสงค์ของการวิจัย

ในการวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์

1.เพื่อศึกษาจำนวนของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดระสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการ มีคะแนนความสามารถด้านการสังเกต การจำแนก และการเปรียบเทียบผ่านเกณฑ์ร้อยละ 75 ของ คะแนนเต็ม

2. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถด้านการสังเกตการจำแนกและการเปรียบเทียบก่อน จัดประสบการณ์การเรียนรู้และหลังการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับ การจดัประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการ


   ความสามารถด้านการสังเกต หมายถึง ความสามารถของเด็กปฐมวัย ที่สามารถรับรู้ และ การมองเห็นของสิ่งของสองสิ่ง ในด้านขนาดและรูปร่าง


   ความสามารถด้านการจาแนก หมายถึง ความสามารถของเด็กปฐมวัยในการจัดแบ่งพวก เรียงลำดับวัตถุสิ่งของที่มีอยู่ใหเ้ป็นหมวดหมู่โดยมีเกณฑ์ในการจัดแบ่งเกณฑ์ดังกล่าวอาจจะใช้ ความเหมือนความแตกต่างหรือความสัมพันธ์
   ความสามารถด้านการเปรียบเทียบ หมายถึง ความสามารถของเด็กปฐมวัยในการมองเห็น ความแตกต่างของขนาด รูปร่าง จานวนท่ีมากกว่าเท่ากันและน้อยกว่าของวตัถุและสิ่งต่างๆ
ประโยชน์ทคี่าดว่าจะได้รับ

การวิจัยคร้ังน้ี ผู้วิจัยคาดว่าจะได้รับประโยชน์จากการวิจยั ดังน้ี

1. ได้ดผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการ สาหรับใช้จัดกิจกรรมการเรียน การสอนเด็กปฐมวัย

2. ได้พัฒนาความสามารถด้านการสังเกต การจำแนก และการเปรียบเทียบของเด็กปฐมวัยโดยการจัดระสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการ

3. เป็นแนวทางสำหรับครูและผู้สนใจในการนำวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบ โครงการมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม เพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการสังเกต การจำแนก และ การเปรียบเทียบของเด็กปฐมวัยรวมทั้งส่งเสริมทักษะด้านนอื่น  ต่อไป


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

 สรุปบทความ บทความเรื่อง : ทักษะทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ทักษะการสังเกต การสังเกต (Observation) หมายถึง การใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่าง...