หน้าเว็บ

วันพุธที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2563

 


บันทึกอนุทินครั้งที่ 8

วันศุกร์ที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2563

เวลา 08:30 - 12:30 น


เนื้อหา

        สัปดาห์นี้อาจารย์ให้ดูคลิปวีดีโอเรื่องน้ำ และให้สรุป ได้ดังนี้


ส่วนประกอบของน้ำ

                  ในร่างกายมี 70% ช่วยปรับสมดุลในร่างกาย

                                               ช่วยปรับอุณหภูมิ

                   ในผลไม้มี 90%

คุณสมบัติของน้ำ

          น้ำมี 3 สถานะ

                         1.ของแข็ง

                         2.ของเหลว

                         3.ก๊าส

                      สามารถเปลี่ยนสถานะได้

 

ความกดดันของน้ำ

                    น้ำที่อยู่บนสุด มีแรงกดดันน้ำน้อยที่สุด น้ำพุ่งได้ในระยะสั้นที่สุด

                    น้ำที่มีความลึกเท่ากัน จะมีแรงกดดันน้ำเท่ากัน

                    แรงกดดันน้ำไม่ได้ขึ้นอยู่กับขนาด แต่ขึ้นอยู่กับความลึกยิ่งลึกมากแรงกดดันน้ำจะยิ่งมาก

การเกิดฝน

                    แหล่งน้ำโดนความร้อน ทำให้น้ำระเหยเป็นไอน้ำ รวมตัวกันเป็นก้อนเมฆลอย ไปกระทบกับความเย็นเกิดความควบแน่น ตกลงมาเป็นฝน 

เเรงตึงผิว

          เมื่อผิวหน้าของน้ำสัมผัสกับอากาศ ทำให้เกิดความยืดหยุ่น เมื่อเราวางวัตถุที่มีน้ำเบาลงบนผิวน้ำช้าๆ จะสามารถทำให้วัตถุลอยได้


คำศัพย์ภาษาอังกฤษ

  1. water น้ำ

  2.liquid ของเหลว

  3.status สถานะ

  4.air pressure แรงกดอากาศ

  5.rain ฝน


การประเมิน

         ประเมินอาจารย์ อาจารย์อธิบายกระชับเข้าใจง่าย มีการยกตัวอย่างประกอบ

         ประเมินเพื่อน ตั้งใจฟังดี สนใจเนื้อหาที่เรียน

         ประเมินตนเอง ตั้งใจเรียน ถามเมื่อมีข้อสงสัย



วันศุกร์ที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2563

บันทึกอนุทินครั้งที่ 7

วันศุกร์ที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2563

เวลา 08:30 - 12:30 น



เนื้อหาที่เรียน

           วันนี้อาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 2-3 คนทำของเล่นที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ โดยทำจากเศษวัสดุเหลือใช้ภายในห้อง









         กลุ่มของดิฉันทำเป็นส่วนประกอบของต้นไม้ วิธีการเล่นคือ ให้เด็กๆนำส่วนประกอบต่างๆของต้นไม้ไปติดกับต้นไม้อีกต้นที่ไม่สมบูรณ์



คำศัพย์ภาษาอังกฤษ

1.artificial ประดิษฐ์

2.toy  ของเล่น  

3.leftovers  ของเหลือใช้

4.the media  สื่อ

5.experiment ทดลอง

การประเมิน

ประเมินอาจารย์  อาจารย์ให้นนักศึกษาได้ใช้จินตนาการ ความคิดสร้างสรรในการประดิษฐ์สื่อของและให้ทำอย่างอิสระ

ประเมินเพื่อน     เพื่อนๆทุกคนตั้งใจทำงานมีความคิดสร้างสรรประดิษฐ์สื่อของเล่นได้อย่างสวยงาม

ประเมินตนเอง   ตั้งใจค้นหาข้อมูล ตอบคำถาม และช่วยคู่ของตนเอง


วันจันทร์ที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2563



 บันทึกอนุทินครั้งที่ 6

วันศุกร์ที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2563

เวลา 08:30 - 12:30 น.


เนื้อหาที่เรียน

    พัฒนาการ ทำให้เด็กอยากรู้อยากรู้อยากเห็น

ทักษะทางวิทยาศาสตร์

   1.ทักษะการสังเกต (เพื่อเก็บข้อมูล)  มีเครื่องมือทางคณิตศาสตร์มาเกี่ยวข้อง

   2.ทักษะการจำแนก เป็นการแบ่งประเภทโดยใช้เกณฑ์  ความเหมือน ความต่าง สัมพันธ์กัน

   3.ทักษะการวัด ใช้เครื่องมือ ในการวัดปริมาณสิ่งต่างๆ โดยมีหน่ายการวัดกำกับ

   4.ทักษะการตีความหมาย การพูด เขียน รูปภาพ และท่าทางภาษา สามารถสื่อสารได้อย่างชัดเจน

   5.ทักษะการลงความเห็น การลงความเห็นเพิ่มเติมอย่างมีเหตผล โดยอาศัยประสบการณ์และความรู้

   6.ทักษะการหาความสัมพันธ์ระสเปสกับเวลา ภาพ 1 มิติ 2 มิต และ 3มิติ การบอกทิศทาง บอกเงา จากภาพ3มิติ

   7.ทักษะการคำนวน มีการหาค่า บวก ลบ คูณ หาร

 มาตรฐาน คือเกณฑ์ขั้นต่ำ


สมองกับวิทยาศาสตร์ 

 -ตีความ

 -หาเหตุผล เชื่องโยง

 -ประเมินคุณค่า

 -จำแนกองค์ประกอบ


องค์ประกอบของการคิดทางวิทยาศาสตร์

 -สิ่งที่กำหนด

 -การค้นหาความจริง หรือความสำคัญ

-หลักการหรือกฎเกณฑ์


คำศัพย์ภาษาอังกฤษ

1.rate ประเมิน

2.fact ข้อเท็จจริง

3.inference การลงคามเห็น

4.mensuration การวัด

5.determine     กำหนด.



การประเมิน

ประเมินอาจารย์ อาจารย์อธิบายกระชับเข้าใจง่าย มีการยกตัวอย่างประกอบ

ประเมินเพื่อน ตั้งใจฟังดี สนใจเนื้อหาที่เรียน

ประเมินตนเอง ตั้งใจเรียน ถามเมื่อมีข้อสงสัย



วันอาทิตย์ที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2563

  บันทึกอนุทินครั้งที่ 5

วันศุกร์ที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2563

เวลา 08:30 - 12:30 น.

เนื้อหาที่เรียน

       

ทำไมถึงต้องสอนวิทยาศาสตร์  การศึกษามาตรฐาน ความจำเป็นในชีวิตประจำวัน เเละ หลักสูตรประฐมวัย 60

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คือ การหาเหตุผล แก้ไขปัญหา

สมองกับวิทยาศาสตร์     1 ตีความข้อมูลที่ได้รับเพื่อทำความเข้าใจ

                                    2 หาสาเหตุเชื่อมโยงสิ่งที่เกิดขึ้นเพื่อสืบค้นความจริง

                                    3 ประเมินคุณค่าของสิ่งต่างๆเพื่อการตัดสินใจ

                                    4 จำเเนกองค์ประกอบเพื่อให้เห็นภาพรวมทั้งหมดของเรื่องนั้น

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คือ การหาเหตุผล แก้ไขปัญหา
            
          ทักษะการสังเกต
                การใช้ประสาทสัใผัสทั้ง5 สังเกตเพื่อดูการเปลี่ยนแปลง
            ทักษะการจำแนก
                ใช้การตั้งเกณฑ์ เพื่อหาความเหมือน ความต่าง
            ทักษะการวัด
                ใช้เครื่องมือ โดยจะมีหน่วยการกำกับ
            ทักษะการสื่อความหมาย
                การพูด การเขียน การวาดภาพ บรรยายวัตถุ
            ทักษะการลงความคิดเห็น
                 เพิ่มเติมความคิดเห็นให้กับข้อมูลที่มีอยู่อย่างมีเหตุผล
            ทักษะการหาความสัมพันธ์รหว่างสเปสกับเวลา
บอกทิศทางหรือตำแหน่งของวัตถุ ชี้บ่งภาพ 2 มิติ 3 มิติ

องค์ประกอบของการคิดทางวิทยาศาสตร์ 

        สิ่งที่กำหนด

        หลักหรือกฎเกรณฑ์  เป็นข้อกำหนดสำหรับใช้เเยกส่วนประกอบของสิ่งที่กำหนดให้

        การค้นหาความจริงหรือความสำคัญ   เป็นการพิจารณาส่วนประกอบของสิ่งที่กำหนดให้


              อาจารย์ให้จำกลุ่มทำงานให้ตั้งหัวข้อทำผังความคิด กลุ่มล่ะ 5 คนหัวข้อเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์

กลุ่มของดิฉันเลือกหน่วย การเจริญเติบโตของถั่วงงอก




วันจัทร์ สอนเรื่อง ชนิดของถั่ว

วันอังคาร สอนเรื่อง ลักษณะของต้นถั่วงอก

วันพุธ สอนเรื่อง  การดูแลรักษา

วันพฤหัส สอนเรื่อง ประโยชน์ของถั่วงอก

วันศุกร์ สอนเรื่อง โทษของถั่วงอก 




คำศัพย์ภาษาอังกฤษ

1. nuts  ถั่ว
2. sprouts ถั่วงอก
3. soybean ถั่วเหลื่อง
4. skill   ทักษะ
5. grow up เติบโต


   
   ประเมิน
          ประเมินตนเอง: คิดรับฟังความเห็นของเพื่อน และช่วยเพื่อนทำ
          ประเมินเพื่อน: ช่วยกันคิดหน่วยและลงมือทำ
          ประเมินอาจารย์: อธิบายเนื้อหาอย่างละเอียดและให้คำแนะนำ